Thailand Institute of Justice

Thailand Institute of Justice

บริการวิจัย

Lak Si District, Bangkok City ผู้ติดตาม 684 คน

Investing in the Rule of Law for a Better Future

เกี่ยวกับเรา

The Thailand Institute of Justice (TIJ) is a UN PNI research institute with the expertise in the rule of law, criminal justice system, and crime prevention.

เว็บไซต์
https://www.tijthailand.org/home
อุตสาหกรรม
บริการวิจัย
ขนาดของบริษัท
พนักงาน 51-200 คน
สำนักงานใหญ่
Lak Si District, Bangkok City
ประเภท
บริษัทมหาชน
ก่อตั้งเมื่อ
2011

ตำแหน่งที่ตั้ง

พนักงานที่ Thailand Institute of Justice

อัพเดท

  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    📢 7-8 กุมภาพันธ์ 68 นี้ว่างไหม! 🙋🏻♂️🙋🏻♀️ TIJ ร่วมด้วยเครือข่าย RoLD, The World Justice Project และ The Standard 🎊 อยากชวนทุกคนมาร่วมงาน “Thailand Rule of Law Fair 2025 งานแฟร์เพื่อความแฟร์”  ครั้งแรกในอาเซียนกับงานสร้างหลักนิติธรรมจากการมีส่วนร่วมของทุกคน   ภายใต้หัวข้อ “Investing in the Rule of Law for a Sustainable Future” 💝 ไฮไลท์  - เข้าใจหลักนิติธรรมแบบง่ายๆ จากมุมมองระดับโลก โดย The World Justice Project (WJP), Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) และ The United Nations Development Programme (UNDP) - เปิดวิสัยทัศน์จากผู้นำระดับนโยบายของประเทศไทย - พูดคุยการเมืองแบบ Deep Talk ในพื้นที่ปลอดภัย  - รับชมเทศกาลหนังสั้น “In Broad Daylight” ภาคต่อของนิทรรศการ “กลางวันแสกๆ” เมื่อเรื่องไม่ปกติจะต้องไม่เป็นเรื่องปกติอีกต่อไป  - ช้อปเพลินกับ Rule of Law Marketplace  - กิจกรรมสร้างนวัตกรรมความยุติธรรมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง  - เวทีสนทนาเครือข่ายและเยาวชน “อนาคตประเทศไทยและรัฐธรรมนูญในฝัน” 🗓️ “Thailand Rule of Law Fair 2025 งานแฟร์เพื่อความแฟร์” วันที่ : 7-8 กุมภาพันธ์ 2568  เวลา : 08.30 – 16.30 น.  สถานที่ : TIJ Common Ground อาคารสำนักงาน TIJ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ  (กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม) 📍กดติดตามเพจเราไว้เพื่อไม่พลาดข่าวสารและรายละเอียดของงาน  📧 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ rold@tijthailand.org #Fairforfair #ThailandRuleofLawFair2025 #งานแฟร์เพื่อความแฟร์ #หลักนิติธรรมเป็นเรื่องง่าย #นวัตกรรมยุติธรรมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง #TIJ #RoLD #TheWorldJusticeProject #Thestandard

    • Thailand Rule of Law Fair 2025 งานแฟร์เพื่อความแฟร์
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    เพราะผู้หญิงก็มีสิทธิที่เท่าเทียมกัน . ข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง หรือข้อกำหนดกรุงเทพ จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่าผู้หญิงได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมได้ แม้ “ผู้หญิง” จะอยู่ในเรือนจำ . สิทธิของผู้หญิงในเรือนจำ ยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น เมื่อในขณะนี้จำนวนผู้กระทำผิดหญิงทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจากหลายสาเหตุ และผู้หญิงต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมในที่คุมขังที่เลวร้าย หากเทียบกับผู้ต้องขังชาย เพราะเรือนจำส่วนใหญ่ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อสนองความต้องการของผู้หญิง . ดังนั้น การบริหารจัดการและปฏิบัติต่อผู้หญิงในเรือนจำจึงเป็นสิ่งที่ควรได้รับการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข เพื่อให้ผู้หญิงได้เข้าถึง “ความเท่าเทียม” และนำไปสู่การได้รับโอกาสครั้งใหม่หรืออาจจะครั้งแรกในการใช้ชีวิต เมื่อถูกปล่อยตัวออกจากเรือนจำ . รู้จักกับ “ข้อกำหนดกรุงเทพ” ข้อกำหนดที่จะทำให้ “ผู้หญิง” และกลุ่มเปราะบางอื่นๆ ในเรือนจำมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น . ร่วมฉลองวันที่ 21 ธันวาคม 2567 ครบรอบ 14 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ พร้อมติดตามความคืบหน้าของการนำข้อกำหนดกรุงเทพไปใช้ทั่วโลก ที่งาน “การประชุมนานาชาติว่าด้วยผู้หญิงและการราชทัณฑ์ หรือ WOMEN IN CORRECTIONS CONFERENCE 2025” ระหว่างวันที่ 19-21 กุมภาพันธ์ 2568 . ลงทะเบียนร่วมงาน https://lnkd.in/dh2GharP (งานประชุมใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก และมีค่าใช้จ่าย) #ข้อกำหนดกรุงเทพ #การปฏิบัติต่อกลุ่มเปราะบางในเรือนจำ #ข้อกำหนดเพื่อผู้หญิงในเรือนจำ #14ปีข้อกำหนดกรุงเทพ #WICC2025

    • แนวโน้มผู้ต้องขังหญิง
.

ทั่วโลกมีจำนวนผู้ต้องขังทั้งสิ้น 11.5 ล้านคน 1 ใน 3 เป็นผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีที่คาดว่าจะเป็นผู้บริสุทธิ์ เหตุที่ทำให้พวกเขาต้องมาอยูในเรือนจำ 1. ก่ออาชญากรรมเพราะความยากจน 2. การถูกแบ่งแยกหรือเหยียดชนชาติอย่างเป็นระบบ 2. ความนิยมในมาตรการการลงโทษขั้นรุนแรงอย่างนโยบายยาเสพติด การใช้มาตรการจำคุกระหว่างพิจารณาคดี ขาดมาตรการการลงโทษทางเลือก และการลงโทษเกินกว่าเหตุ
.

นอกจากนี้ จำนวนผู้ต้องขังหญิง ซึ่งแม้จะเป็นส่วนน้อยในเรือนจำ แต่ก็มีแนวโน้มที่จะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยหากนับตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2565 ผู้ต้องขังหญิงมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 ในขณะที่ผู้ต้องขังชายมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 22
    • เส้นทางสู่เรือนจำของผู้ต้องขังหญิง
.

เรือนจำนั้นเดิมไม่ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับผู้ต้องขังเพศหญิง ทำให้พวกเธอต้องเผชิญกับความยากลำบากในสถานที่คุมขัง และสถานการณ์ยิ่งเลวร้ายลงเมื่อจำนวนผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำเพิ่มสูงขึ้น โดยจากรายงานสถานการณ์เรือนจำโลก ปี 2024 พบว่า ทั่วโลกมีผู้ต้องขังหญิงถึง 741,000 คน โดยสาเหตุหลักที่ทำให้พวกเธอต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำ ได้แก่
.

- นโยบายยาเสพติดที่มีการลงโทษรุนแรง
- อาชญากรรมที่เกิดจากสถานะทางสังคมและความยากจน
- การกระทำความผิดที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงทางเพศทั้งทางตรงและทางอ้อม
- ความเหลื่อมล้ำทางสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
- การพิจารณาคดีที่ไม่สนองตอบต่อเพศภาวะ
    • การคัดแยกผู้ต้องขังหญิงตามข้อกำหนดกรุงเทพ
.

จำนวนผู้ต้องขังหญิงที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ยังผลให้เกิดข้อกำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิง หรือข้อกำหนดกรุงเทพ ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่นำมาใช้เพื่อสนองตอบต่อเพศภาวะของผู้ต้องขังหญิง โดยได้รับการประกาศให้เป็นข้อกำหนดสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553
.

ภายใต้ข้อกำหนดกรุงเทพทั้งหมด 70 ข้อ มีสาระสำคัญในการบริหารจัดการเรือนจำเพื่อให้สอดคล้องกับเพศภาวะของผู้ต้องขังครอบคลุมเนื้อหาตั้งแต่การรับตัวผู้ต้องขัง การลงทะเบียน และการจัดสรรสถานที่คุมขัง และมีการจำแนกผู้ต้องขังและการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังเป็นรายบุคคล
.

ตัวอย่างการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงเมื่อแรกรับตัวเข้าเรือนจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีของผู้ต้องขังหญิงที่มีบุตร ซึ่งผู้ต้องขังกลุ่มหญิงนี้จะมีความเครียด วิตกกังวลต่อความเป็นอยู่ของบุตรที่ต้องอยู่ภายนอกเรือนจำ ข้อกำหนดกรุงเทพเสนอแนวทางให้มีกระบวนการตั้งแต่แรกรับว่า ผู้หญิงกลุ่มนี้ควรเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการจัดเตรียมทางเลือกในการดูแลบุตร
    • การดูแลสุขอนามัยและการดูแลสุขภาพ
.

สำหรับผู้ต้องขังหญิงแล้ว การดูแลสุขอนามัยและสุขภาพย่อมมีความแตกต่างจากผู้ต้องขังชาย ในเมื่อสถานที่คุมขังไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้ทั้งหมด การมีข้อกำหนดกรุงเทพที่สนองตอบความต้องการด้านสุขอนามัยและสุขภาพจึงมีส่วนเข้ามาช่วยเติมเต็มได้ โดยในข้อกำหนดกรุงเทพได้ระบุหลักการไว้ว่า ต้องจัดให้มีการดูแลสุขภาพตามเพศภาวะ (gender-specific) รวมถึงการดูแลสุขภาพและอนามัยเจริญพันธุ์ และการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน อีกทั้งพิจารณาถึงผู้มีปัญหาสารเสพติดและสุขภาพจิต รวมไปถึงต้องดูแลให้ครอบคลุมถึงเด็กที่พักอาศัยในเรือนจำกับผู้ต้องขังด้วย
    • ความปลอดภัยและความมั่นคง
.

ความปลอดภัยเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน แม้กระทั่งผู้ที่ถูกควบคุมตัวในสถานที่คุมขัง โดยเฉพาะส่วนของผู้ต้องขังหญิง ที่มีความต้องการด้านความปลอดภัยและความมั่นคงต่างจากผู้ต้องขังชาย ข้อกำหนดกรุงเทพจึงได้มีข้อกำหนดตั้งแต่กระบวนการตรวจค้นและระบบการจำแนกลักษณะผู้ต้องขัง การแยกผู้ต้องขังหญิง รวมไปถึงการกำกับดูแลผู้ต้องขังหญิงโดยเจ้าหน้าที่หญิงเท่านั้น
.

ตัวอย่างของการใช้มาตรการด้านความปลอดภัยและมั่นคงสำหรับผู้ต้องขังหญิง ในประเทศไทย กรมราชทัณฑ์ได้นำเทคโนโลยีการแสกนร่างกายแบบเต็มตัวมาใช้กับการตรวจค้นผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำกลาง เขตจตุจักร กรุงเทพฯ เพื่อแทนที่การตรวจค้นที่รุกล้ำเข้าไปในร่างกาย โดยเป็นเครื่องแสกนแบบเต็มตัวคล้ายกับที่นำไปใช้ในสนามบิน
      +3
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    ประเทศไทย ประกาศตัวจะเป็น “ครัวของโลก” แต่อาจจะได้เป็น “ถังขยะของโลก” แทน จากการลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ การขยายตัวของโรงงานกลุ่มรีไซเคิลกากอุตสาหกรรมทั้งจากในประเทศและกลุ่มทุนข้ามชาติ ซึ่งล้วนพบการละเมิดกฎหมายในทุกขั้นตอน ทำให้เกิดการปนเปื้อนอย่างกว้างขวางในหลายพื้นที่ ... และไม่มีความยุติธรรมสำหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบ เรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ป้องกันได้หรือไม่ และจะแก้ไขปัญหาได้อย่างไร? สุดสัปดาห์ที่ผ่านมา TIJ ในฐานะองค์กรที่ผลักดันเรื่องการยกระดับหลักนิติธรรม จับมือกับสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และมูลนิธิบูรณะนิเวศ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในประเด็น “ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม” หัวข้อ การรายงานข่าวเชิงสืบสวนกรณีลักลอบทิ้งกากของเสียอันตราย ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 15 – วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 โดยนำผู้ร่วมอบรมซึ่งมีทั้งสื่อมวลชน นักศึกษา หน่วยงานภาครัฐและองค์กรภาคประชาสังคมด้านการติดตามปัญหาคอร์รัปชัน ลงพื้นที่ชุมชนหนองพะวา เพื่อรับทราบถึงปัญหาและผลกระทบของกากอุตสาหกรรมที่มีต่อชุมชนและสังคมในพื้นที่จริง พร้อมการบรรยายข้อมูลเชิงลึกจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายสิ่งแวดล้อม นักวิชาการ และ NGOs รวมทั้งร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน workshop เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ และเพิ่มทักษะการสื่อสารเกี่ยวกับความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม ข้อสรุปบางส่วนจากการอบรม ทำให้พบปัญหาที่สำคัญ คือ การเข้าถึงข้อมูลการปล่อยหรือการเคลื่อนย้ายสารมลพิษยังคงเป็นเรื่องยาก เพราะข้อมูลที่ถูกเปิดเผยจากหน่วยงานรัฐเป็นเพียงข้อมูลพื้นฐาน ส่วนข้อมูลที่ภาคประชาชนหรือชาวบ้านในพื้นที่เสียงได้รับผลกระทบต้องการรับรู้ เช่น มีสารเคมีใดบ้างถูกนำเข้ามา ปริมาณเท่าไหร่ มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่โรงงานทำได้หรือทำไม่ได้ กลับเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถเข้าถึงได้เลย ด้าน ดร.อณูวรรณ วงศ์พิเชษฐ์ รองผู้อำนวยการ TIJ กล่าวถึงการอบรมครั้งนี้ว่า การให้ความรู้ และเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง เปิดเผย โปร่งใส เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญที่จะช่วยให้สังคมสามารถติดตามตรวจสอบความเป็นไปในสังคม และเข้าถึงความยุติธรรมได้มากขึ้น และหวังว่าการอบรมครั้งนี้จะช่วยสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสื่อมวลชน นักศึกษา นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญในการเฝ้าระวังและร่วมกันขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการยุติธรรมต่อไป การอบรมเชิงปฏิบัติการในประเด็นความยุติธรรมสิ่งแวดล้อมครั้งนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ต่อเนื่องจากการอบรมฯ ครั้งแรกที่จังหวัดปราจีนบุรี เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2567 #สิทธิในสิ่งแวดล้อมคือสิทธิมนุษยชน #หนองพะวา #ความยุติธรรมสิ่งแวดล้อม #การเข้าถึงความยุติธรรม #กากอุตสาหกรรม #ปัญหาสิ่งแวดล้อม #ความยุติธรรมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง

    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
      +11
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    A Memorandum of Understanding (MOU) was signed by Dr. Phiset Sa-ardyen, Executive Director of the Thailand Institute of Justice (TIJ) and Douglas Durán Chavarría, Executive Director of the United Nations Latin American Institute for Crime Prevention and the Treatment of Offenders (ILANUD), to work together on the development of justice systems in Asia and Latin America. This MoU, signed on November 28, 2024 in San Jose, Costa Rica, is the first step toward building justice system capacity and sharing knowledge and best practices on prison reform, gender-sensitive justice, restorative justice, and the rule of law. Additionally, it is fortifying ties amongst UN Programme Network Institutes (UN PNIs) in order to enhance international collaboration. The signed agreement reaffirms the TIJ and ILANUD's dedication to advancing the development of regional and international justice systems in order to guarantee equity and fairness for all in the long run.

    • TIJ-ILANUD MoU on 28 Nov 2024.
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    On November 25-27, 2024, the TIJ, UNODC, and ILANUD co-hosted the Latin America and Caribbean Regional Consultative Meeting in San José, Costa Rica, strengthening the Bangkok Rules implementation after the first Asia-Pacific meeting earlier this year. Over 80 people from 19 nations met to share experiences, evaluate progress, and share best practices. With almost 95,000 women in prison—the highest percentage globally at 13.7 per 100,000—the region faces tremendous issues. Most of these women are under 40, poor, uneducated, and confined for non-violent drug charges, highlighting economic inequalities and social constraints. Increased finance, staff training, vocational programs, and care for children living with incarcerated mothers were discussed as priorities. Participants also demanded better data gathering and cross-sector coordination for gender-responsive justice. Particular attention was given to enhancing the treatment of female minors, transsexual women, and foreign national women in prison. The workshop addressed financial inadequacies and offered a global framework for supporting women in the legal system. The event ended with Qatar being named the Middle East and North Africa summit host, ensuring this worldwide effort continues. #BangkokRules #TIJ #womeninprison #womenrights #UNODC 

    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
      +4
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    Restart Academy Wins the “Creativity for Sharing” Award at AdPeople Awards & Symposium 2024 Restart Academy, a social enterprise under the supervision of the Thailand Institute of Justice (TIJ), received the prestigious "Creativity for Sharing (CS Awards)" at the AdPeople Awards & Symposium 2024. Mr. Thanachai Sundaravej, TIJ's Senior Manager of Social Partnership and Public Engagement, accepted the award on November 21, 2024, at Samyan Mitrtown in Bangkok. This year’s event was held under the theme “Creativity for Peoplekind”, emphasizing the power of creativity to positively impact society and the world. The award recognizes individuals or organizations outside the advertising industry who use creativity to benefit society, driven by the belief that “creativity is not exclusive to advertisers—everyone is born creative and capable of making a difference.” Restart Academy is a program dedicated to empowering individuals in conflict with the law, helping them reintegrate into society sustainably. Launched in 2022 as a social lab, it has since evolved into a social enterprise. The academy offers on-the-job training in the restaurant business, alongside essential life skills development. It now expands into other sectors, including spa services, beauty salons, and tree care. Statistics reveal that participants in the program have a first-year reoffending rate of only 8.1%, compared to 15.58% for those not enrolled in the program (data from the Department of Corrections, Ministry of Justice, Thailand). #RestartAcademy #TIJ #SocialImpact #CreativityForChange #AdPeople2024

    • TIJ's Restart Academy received special awards at the AdPeople Awards & Symposium 2024.
    • TIJ's Restart Academy received special awards at the AdPeople Awards & Symposium 2024.
    • TIJ's Restart Academy received special awards at the AdPeople Awards & Symposium 2024.
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    On November 15, 2024, the United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC), in partnership with the Embassy of Italy in Thailand and Chulalongkorn University, hosted the First International Day for the Prevention of and Fight against All Forms of Transnational Organized Crime. The event aims to raise awareness among young generations on the pervasive threats posed by all forms of transnational organized crime while providing a platform for youth to showcase their awareness-raising campaigns on this pressing global issue. On this occasion, Dr. Phiset Sa-ardyen, Executive Director of the Thailand Institute of Justice (TIJ), delivered a statement, reaffirming TIJ's dedication to advancing crime prevention and combating transnational organized crime as part of our mandate under the United Nations Crime Prevention and Criminal Justice Programme Network of Institute (UN-PNI). He emphasized the importance of youth engagement and empowerment in building a safer, more just global society. #UNODC #TIj #TransnationalOrganizedCrime #CriminalJustice

    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • The First International Day for the Prevention of and Fight against All Forms of Transnational Organized Crime was organised on November 15, 2024, at Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
    • Dr.Phiset Sa-ardyen, TIJ Executive Director, at the First International Day for the Prevention of and Fight against All Forms of Transnational Organized Crime. The event was organised on November 15, 2024, at Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
    • The First International Day for the Prevention of and Fight against All Forms of Transnational Organized Crime was organised on November 15, 2024, at Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    หลักนิติธรรม คืออะไร ??  ทำไมหากประเทศไทยจะเข้าเป็นสมาชิกของ OECD หรือ หากต้องการเป็นประเทศที่เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ก็จะต้อง “พัฒนาหลักนิติธรรม” . ติดตามบทความสรุป The Standard Economic Forum ในหัวข้อ เสริมสร้างหลักนิติธรรม : รากฐานความรุ่งเรืองแห่งชาติ - Strengthening Rule of Law : Foundation for National Prosperity ที่นี่ https://lnkd.in/gibGzQAQ #TheStandardEconomicForum2024 #TIJ #RuleofLaw #หลักนิติธรรม #sustainabledevelopment #การพัฒนาที่ยั่งยืน #ระบบยุติธรรมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง

    TIJ ร่วมเสวนาสร้างหลักนิติธรรรม เพื่อรากฐานความรุ่งเรืองของชาติในงาน The Standard Economic Forum 2024

    TIJ ร่วมเสวนาสร้างหลักนิติธรรรม เพื่อรากฐานความรุ่งเรืองของชาติในงาน The Standard Economic Forum 2024

    tijthailand.org

  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    Restorative justice (RJ) in schools fosters student reflection on their actions and promotes peer learning, which can transform behaviors, said Ukrit Sornprohm, Chief of Policy and External Affairs at the Thailand Institute of Justice (TIJ). Speaking at the International Development Law Organization’s (IDLO) session on "Diverse Pathways to Justice: Engaging with Customary and Informal Justice Systems, including through community and collaborative-dispute resolution mechanisms." Ukrit also detailed TIJ’s key RJ efforts in Thailand that TIJ has advanced RJ practices for professionals by aligning with the UN’s principles on restorative justice. Their initiatives include a digital RJ platform to reduce paperwork and a “Training the Trainers” program to raise mediator and facilitator standards to international levels. In schools, TIJ promotes RJ as a preventive approach to conflict resolution, moving away from punitive measures that mimic criminal justice systems. Teachers are encouraged to build empathy and understanding among students, parents, and educators, fostering dialogue that addresses conflict origins. Countries like Canada and New Zealand have seen positive results, such as reduced dropout rates and school violence, showcasing RJ’s impact in line with the UN Convention on the Rights of the Child. Ukrit highlighted a school where RJ practices gave victims a voice and focused on healing, creating meaningful learning experiences and boosting accountability. He stressed the need for Nonviolent Communication and empathetic dialogue, backed by strong school support systems, to ensure victim healing and effective conflict resolution. The session was organized as part of the regional conference “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific,” hosted by the United Nations Development Programme (UNDP) in collaboration with UNEP, UN Women, the World Justice Project (WJP), IDLO, UNICEF, Pathfinders, and TIJ. #PeopleCenteredJustice #JusticeForAll #RuleOfLaw #SDGs #AsiaPacific #DevelopmentAgenda

    • The session “Diverse Pathways to Justice: Engaging with Customary and Informal Justice Systems, including through community and collaborative-dispute resolution mechanisms,” hosted by the International Development Law Organization (IDLO). The session was organized as part of the regional conference “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific,” hosted by the United Nations Development Programme (UNDP) in collaboration with UNEP, UN Women, the World Justice Project (WJP), IDLO, UNICEF, Pathfinders, and TIJ.
    • Ukrit Sornprom, Chief of Policy and External Affairs - Rule of Law and Criminal Justice at the Thailand Institute of Justice (TIJ). the session “Diverse Pathways to Justice: Engaging with Customary and Informal Justice Systems, including through community and collaborative-dispute resolution mechanisms,” hosted by the International Development Law Organization (IDLO). The session was organized as part of the regional conference “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific,” hosted by the United Nations Development Programme (UNDP) in collaboration with UNEP, UN Women, the World Justice Project (WJP), IDLO, UNICEF, Pathfinders, and TIJ.
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
    • “Diverse Pathways to Justice: Engaging with Customary and Informal Justice Systems, including through community and collaborative-dispute resolution mechanisms,” hosted by the International Development Law Organization (IDLO). The session was organized as part of the regional conference “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific,” hosted by the United Nations Development Programme (UNDP) in collaboration with UNEP, UN Women, the World Justice Project (WJP), IDLO, UNICEF, Pathfinders, and TIJ.
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
      +1
  • ดูหน้าเพจองค์กรสำหรับ Thailand Institute of Justice, กราฟิก

    ผู้ติดตาม 684 คน

    “The underlying intent is to promote a justice system that puts people at the center and has as its purpose and design the goal of equally meeting the needs of all people of that jurisdiction, by enabling their effective participation and engagement in the process.” This definition of “people-centered justice” is articulated by the Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). . Fostering a people-centered approach to justice necessitates the creation of innovative solutions that can drive systemic change. This approach not only emphasizes devising new methods to deliver justice but also fosters collaboration across various sectors of society. However, the development of such justice innovations relies on the existence of a robust “innovation ecosystem” comprising societal actors, activities, innovations (ideas, methodologies, etc.), institutions, and interconnected relationships that reinforce and complement each other. These components are crucial in enabling actors to engage in open and creative innovation. . During the session “Justice Reimagined: Fostering an Ecosystem for People-Centered Innovation,” hosted by Yunus Thailand as part of the “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific Regional Conference” at the United Nations building in Bangkok from November 11-13, 2024, a report titled “Catalysing an Innovation Ecosystem for People-Centered Justice in Southeast Asia” was presented. This report, a collaboration between TIJ, the National Institute of Development Administration (NIDA), and Yunus Thailand, explores the key components and roles of an ecosystem for justice innovation. . Jonathan Brenes, a research representative from Yunus Thailand, underscored the importance of collaboration among various stakeholders—developers, experts, and community workers—through comprehensive research and engagement with civil society, academia, government, and the private sector. Despite ongoing efforts, justice innovation faces significant challenges, such as uneven resource distribution, hierarchical societal barriers, and financial constraints. He emphasized that overcoming these obstacles requires fostering diverse, and resilient communities that facilitate knowledge exchange and inclusive participation. . The regional conference “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific” hosted by UNDP with collaboration from UNEP, UNWomen, WJP, IDLO, UNICEF, Pathfinders and TIJ. . Download the Catalysing an Innovation Ecosystem for People-Centered Justice in Southeast Asia report here: https://lnkd.in/gmD7q-fi #PeopleCenteredJustice #JusticeForAll #RuleOfLaw #SDGs #AsiaPacific #DevelopmentAgenda

    • The session “Justice Reimagined: Fostering an Ecosystem for People-Centered Innovation,” hosted by Yunus Thailand as part of the “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific Regional Conference” at the United Nations building in Bangkok from November 11-13, 2024.
    • Jonathan Brenes from Yunus Thailand presented at the session “Justice Reimagined: Fostering an Ecosystem for People-Centered Innovation,” hosted by Yunus Thailand as part of the “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific Regional Conference” at the United Nations building in Bangkok from November 11-13, 2024.
    • The session “Justice Reimagined: Fostering an Ecosystem for People-Centered Innovation,” hosted by Yunus Thailand as part of the “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific Regional Conference” at the United Nations building in Bangkok from November 11-13, 2024.
    • The session “Justice Reimagined: Fostering an Ecosystem for People-Centered Innovation,” hosted by Yunus Thailand as part of the “Achieving Just Societies: Inclusive Justice Pathways for People and Planet in Asia and the Pacific Regional Conference” at the United Nations building in Bangkok from November 11-13, 2024.
    • ไม่มีการเพิ่มข้อความอธิบายสำหรับรูปภาพนี้
      +1

หน้าเพจที่คล้ายกัน